การตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า ก็คือ การรู้แจ้งความจริงอันประเสริฐ 4 ประการนี้ซึ่งมีอยู่แล้วตามธรรมชาติ ฉะนั้นคำสั่งสอนของ
พระพุทธเจ้าที่เรียกว่า พระพุทธศาสนา จึงเป็นหลักคำสอนที่เกี่ยวกับความจริงที่มีเหตุผลสมบูรณ์ถูกต้อง และสามารถนำมาประพฤติปฏิบัติ และได้รับผลด้วยตนเอง พิสูจน์ได้ ไม่จำกัดกาลเวลา ฉะนั้นในพระพุทธศาสนาจึงไม่มีคำสอนชนิดที่เรียกว่า ”เดา” หรือ ”สันนิษฐาน” หรือ ”คาดคะเน (สมมุติฐาน)” ว่าจะเป็นอย่างนั้นอย่างนี้ ต้องเป็นความจริงที่ได้ค้นคว้าประจักษ์แจ้งแล้วจึงใช้ได้
พระพุทธเจ้ามีหลักการสอนดังนี้
1. ทรงคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล โดยเน้นความแตกต่างด้านสติปัญญา กล่าวถึงวิธีการสอนแต่ละบุคคลไว้อย่างชัดเจนและเปรียบเทียบให้เห็นชัดเจน ด้วยดอกบัว 4 เหล่า ดังนี้
1.1 อุคฆปฏิตัญญู ได้แก่ ผู้มีปัญญาฉลาดเฉียบแหลม(abnormal)เพียงแค่ยกหัวข้อขึ้นแสดงก็สมารถรู้และเข้าใจได้ทันทีเปรียบเสมือนดอกบัวที่อยู่เหนือน้ำรอคอยแสงอาทิตย์พออาทิตย์ฉายแสง ก็เบ่งบานได้ทันที
1.2 วิปจิตัญญู ได้แก่ ผู้มีปัญญาอยู่ในระดับปานกลาง(normal)ต้องอธิบาย ขยายความแห่งข้อนั้นๆแล้ว จึงจะสามารถรู้และเข้าใจได้เปรียบเหมือนดอกบัวที่อยู่เสมอผิวน้ำจะบานในพรุ่งนี้
1.3 เนยยะ ได้แก่ ผู้ที่พอจะแนะนำได้(borderline) คือพอจะฝึกสอนอบรมให้รู้และเข้าใจได้อยู่และจะต้องยกตัวอย่างประกอบให้ชัดเจนเปรียบเหมือนดอกบัวที่ยังโผล่ไม่พ้นน้ำ ซึ่งจักบานในวันต่อๆไป
1.4 ปทปรมะ ได้แก่ผู้ด้อยปัญญา (mentally defective)สอนให้รู้ได้แต่เพียงพบคือ พยัญชนะหรือถ้อยคำ แต่ไม่อาจเข้าใจความหมายได้เปรียบเหมือนดอกบัวที่ยังจมอยู่ในน้ำ โคลนตม ซึ่งย่อมเป็นภักษาแห่งปลาและเต่า
2. สอนโดยคำนึงถึงเนื้อหาที่สอน เช่น
2.1 สอนจากเนื้อหาที่ง่ายไปสู่เนื้อหาที่ยาก โดยเรียงลำดับเนื้อหาให้เข้าใจอย่างชัดเจนตามลำดับ เช่น การสอนอริยสัจ 4 คือ (1)ทุกข์ (2) เหตุแห่งทุกข์(3)ความดับทุกข์ (4)หนทางปฎิบัติให้ถึงความดับทุกข์
2.2 สอนด้วยวิธีการปฏิบัติ เช่น สอนวิธีการปฏิบัติสมถะวิปัสสนากัมมัฏฐานฐาน สอนวัตรปฏิบัติของพระภิกษุสงฆ์ เป็นต้น
2.3 สอนให้มีเหตุมีผล ไม่เชื่อง่าย เช่น หลักการสอนในกาลามสูตร 10 ประการ หรือสอนให้เข้าใจถึงกฎธรรมชาติที่เป็นไปตามเหตุปัจจัย เช่น อิทัปปัจจยตา หรือไตรลักษณ์
2.4 สอนให้รู้ให้เข้าใจถึงองค์ประกอบของสิ่งมีชีวิต ในลักษณะองค์รวม (Holistic) เช่น หลักของขันธ์ 5 มนุษย์ประกอบด้วย นาม รูป (รูป+นาม)
2.5 สอนให้รู้จักประพฤติปฏิบัติตนให้อยู่ในทางสายกลาง ไม่สุดโต่งในด้านใดด้านหนึ่ง เรียกว่า มัชฌิมปฏิปทา เช่นปฏิบัติตามอริยมรรค 8
3. สอนโดยคำนึงถึงลักษณะการสอน เช่น
3.1 สอนโดยการยอตัวอย่างประกอบการสอน เช่น ยกเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแต่ปางก่อนที่เรียกว่า ชาดก ประกอบการสอนให้เข้าใจง่ายขึ้น
3.2 สอนโดยการสร้างบรรยากาศในการสอนให้ปลอดโปร่ง เพลิดเพลิน ไม่ตึงเครียด สอนเรื่องยากให้เป็นเรื่องง่ายๆผู้ฟังจึงเข้าใจง่ายๆผู้ฟังจึงเข้าใจง่าย
3.3 สอนได้ทุกสถานการณ์ ทุกสถานที่ และปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์นั้น ๆ เช่น สอนตามต้นไม้ สอนองคุลีมาร
3.4 สอนแบบรู้แจ้ง จนผู้ที่ได้สดับฟังสามารถบรรลุพระอรหันต์ได้ เช่น สอนนางกีสาโคตรมี โดยให้สืบหาเมล็ดพันธุ์ผักกาดเพื่อเป็นส่วนประกอบของยาชุบชีวิตบุตร จนนางกีสาโคตรมีบรรลุถึงสัจธรรมของความตาย เป็นต้น
3.5 สอนโดยใช้ภาษาสุภาพ นุ่นนวล เหมาะสม เช่น สอนคนไม่ดีด้วย ความดี สอนคนโกรธด้วยความไม่โกธร เป็นต้น
หน่วยการเรียนที่ 1
วันอังคารที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2554
สรุปพุทธประวัติ
การผจญมาร
ความเป็นมา
ในวันที่พระพุทธเจ้า ก่อนที่พระองค์จะทรงตรัสรู้นั้น ได้ประทับนั่งบนบัลลังก์หญ้าคา ที่โสตถิยะพราหมณ์ถวายใต้ต้นมหาโพธิ์นั้นพระองค์ได้ทรงตั้งปณิธานแน่วแน่ว่า “แม้เลือดเนื้อในสรีระทั้งสิ้นจะเหือดแห้งไป เหลือแต่เอ็นกระดูกเท่านั้นก็ตามที เรายังไม่บรรลุสัมธิญาณ ก็จะไม่ลุกขึ้นจากที่นั่งนี้” ดังนี้ ต่อจากนั้นจึงได้ประทับนั่งและทรงเริ่มบำเพ็ญเพียรทางจิต
ขณะนั้นเป็นเวลาพระอาทิตย์ตกดิน จอมมารที่ชื่อว่า สวัดคี ที่คอยขัดขวางการทำความดีของพระองค์ตลอดมาเมื่อทราบว่าพระดำริปณิธานอันแน่วแน่ของพระองค์เช่นนั้น ก็เกิดหวั่นเกรงว่า หากปล่อยให้บรรลุความสำเร็จตามปณิธานแล้ว พระองค์ก็จะพ้นอำนาจของตนไป จึงได้ระดมพลเสนามารทั้งหลายมาผจญเพื่อขับไล่ด้วยวิธีที่น่ากลัวต่างๆเช่น บันดาลให้พายุพัดรุนแรง บันดาลฝนให้ตกหนัก บันดาลให้ปรากฏเป็นอาวุธต่างระดมยิงเข้าไปเพื่อให้ตกต้องพระองค์แต่ว่าพระองค์ได้ทรงระลึกถึงความดีที่ได้ทรงบำเพ็ญมา ที่เรียกว่า พระบารมี 10 ประการ จึงทรงมีพระทัยมั่นคง ไม่หวาดกลัวต่ออำนาจมารที่มาแสดงด้วยประการต่างๆ นั้นและยิ่งกว่านั้น กลับกลายเป็นเครื่องสักการบูชาพระองค์ไปหมดสิ้นพญามารได้แสดงทุรวาจาให้พระองค์ลุกหนีออกไปเสีย โดยแสดงว่าบัลลังก์ที่ประทับนั้นเป็นของพญามารเอง เพราะพญามารก็ได้บำเพ็ญบารมีต่างๆมามากมายโดยอ้างเสนามารทั้งหลายเป็นพยาน เสนามารเหล่านั้นก็ร้องกึกก้องสนับสนุนเป็นเสียงเดียวกันในเวลานั้นพระโพธิสัตว์ไม่มีเสนาหรือใครอื่นที่จะอ้างมาเป็นพยาน จึงได้ทรงเหยียดพระหัตถ์เบื้องขวาชี้ลงไปที่แม่พระธรณีเป็นพยานเพระได้ทรงบำเพ็ญทานต่างๆเป็นอันมากและในการให้ทานทุกครั้งก็ได้ทรงหลั่งทักษิโณทก(หยาดน้ำ)ลงบนที่แผ่นดินซึ่งโดย บุคลาธิฏฐานก็เหมือนดังตนลงไปบนมวยผมของแม่พระธรณี เพราะฉะนั้นแม่พระธรณีจึงเท่ากับเป็นพยานในการทรงบริจาคทาน จึงได้ปรากฏเป็นนางธรณีบีบมวยผม ซึ่งชุ่มด้วยน้ำหลั่งออกมามากมายกลายเป็นทะเลหลวง ท่วมพญามารและเสนาทั้งหลาย ช้างคีรีเมขลาซึ่งพญามารบัญชาการอยู่นั้นก็ฟุบเท้าหน้าทั้งสองลงเป็นการถวายนมัสการพระพุทธองค์ พญามารพร้อมทั้งเสนามารจึงแตกพ่ายถูกน้ำพัดพาไปหมดสิ้นจึงเป็นอันได้ทรงชนะมารก่อนพระอาทิตย์อัสดง และก็พอดีเป็นเวลาพบค่ำ จึงได้เริ่มบำเพ็ญความเพียรต่อไปและก็ได้บรรลุญาณทั้ง 3 ตามลำดับคือในปฐมยาม ทรงบรรลุปุพเพนิวาสานุสสติญาณ คือ ความหยั่งรู้ในชาติภพก่อนๆกล่าวคือ ทรงระลึกชาติได้ในมัชฌิมยาม ทรงบรรลุจุตูปปาตณญาณ รู้จักกำหนดจุติและเกิด
ในปัจฉิมยาม ได้ทรงบรรลุอาสวักขยญาณ คือ ญาณเป็นเหตุทำอาสวะให้หมดสิ้นไป โดยได้ตรัสรู้ อริยสัจ 4เมื่อได้ตรัสรู้แล้ว ก็ยังประทับเสวยวิมุตติสุขที่โคนต้นมหาโพธิ์นั้นเป็นเวลา 7 วัน และสถานที่อื่นๆอีก แห่งละ 7 วัน และโดยเฉพาะเมื่อประทับเสวยวิมุติสุขที่โคนต้นไม้อชปาลนิโครธ มีเรื่องเล่าว่า พญามารมีความเศร้าโศกเสียใจที่ไม่สามารถเอาชนะพระพุทธเจ้าได้ จึงนั่งเป็นทุกข์อยู่ ธิดามารทั้ง 3 นางคือ นางตัณหา นางราคา และนางอรดี จึงได้มาอาสาที่จะนำพระพุทธเจ้ามาอยู่ในอำนาจให้ได้ แล้วก็เข้าไปที่โคนต้นอชปาลนิโครธที่ประทับ ทั้ง 3 นาง โดยแสดงเป็นสตรีเพศอยู่ในวัยต่างๆโดยคิดว่าบุรุษเพศย่อมชอบ ย่อมมีรสนิยมในสตรีเพศต่างวัยกัน จึงได้มาแสดงเป็นสตรีเพศวัยรุ่นบ้าง วัยกลางคนบ้าง เป็นวัยแม่ลูกอ่อนบ้าง หมายมั่นที่จะให้พระองค์พอพระทัย แต่พระพุทธองค์ก็ได้ทรงแสดงพระวาจาประกาศความเป็นผู้สิ้นกิเลส ไม่ข้องแวะด้วยตัณหา ราคะและอรดี ทั้งมวลไม่ทรงสนพระทัยแม้แต่น้อยธิดามารทั้ง 3 ก็พ่ายแพ้ไปอีก จึงเป็นอันพระองค์ทรงชนะมารโดยเด็ดขาด
บทวิเคราะห์
คำว่า “มาร” ในพระพุทธศาสนา หมายถึง สิ่งที่ฆ่าบุคคลให้ตายจากคุณความดี สิ่งที่ล้างผลาญคุณความดีหรือเป็นผู้กำจัด ขัดขวางบุคคลมิให้บรรลุผลสำเร็จอันดีงาม ประกอบด้วย
1. กิเลสมาร หมายถึง การที่ยั่วยุให้คิดในกามคุณ ได้แก่ รูป รส กลิ่น เสียง และสัมผัส ซึ่งมีได้ทั้งด้านที่จิตใจไปคิดในกามคุณ และการตกแต่งวัตถุเนื้อหนังให้สวยงามจนเกิดความหลงติดใจ
2. ขันธมาร หมายถึง หมายถึง มารคือขันธ์ 5 เป็นความหลงในสภาพที่ปัจจัยปรุงแต่งขึ้น เช่น หลงตนเอง หรือการไปทำศัลยกรรมตกแต่งร่างกายตนเอง ทำให้ตัดโอกาสมิให้บุคคลทำกิจหน้าที่บำเพ็ญคุณความดีได้เต็มปรารถนา หรืออาจพลาดโอกาสนั้นโดยสิ้นเชิง
3. อภิสังขารมาร หมายถึง มารที่ขัดขวางมิให้หลุดพ้นจากสังสารวัฎ มีเจตนาชั่ว
4. เทวปุตตมาร หมายถึง มารคือเทพบุตร คอยขัดขวางเหนี่ยวรั้งบุคคลไว้ มิให้ล่วงพ้นจากแดนอำนาจครอบงำของตน โดยชักนำให้ห่วงพะวงในกามสุข ไม่อาจหายเสียสละออกไปบำเพ็ญคุณความดีที่ยิ่งใหญ่
5. มัจจุมาร หมายถึง มารคือ ความตาย เพราะความตายเป็นตัวการตัดโอกาสที่จำให้ทำความดีงามทั้งหลายได้ มารมีวิธีปฏิบัติการสำคัญ 2 อย่าง ได้แก่ การล่อลวงและการจองจำเป้าหมายก็คือ การล่อลวงหรือจองจำจิตวิญาณของมนุษย์ให้ลุ่มหลงมัวเมา ตกเป็นทาสของมารในที่สุด
ดังนั้น มารที่พระพุทธองค์ได้พบ สามารถวิเคราะห์ได้ว่า เกิดขึ้นมาจากมารทั้ง 4 ข้อแรก คือ กิเลสมาร ขันธมารอภิสังขารมารและ
เทวปุตตมาร แต่มารที่ทำ หน้าที่เด่นที่สุด คือ กิเลสมารที่เกิดขึ้นในพระทัยของพระองค์ ซึ่งจะเป็นตัวขัดขวางมิให้พระองค์ตรัสรู้ได้ อันได้แก่ การต่อสู้ทางความคิดของพระองค์ระหว่างกิเลสกับธรรมะด้านหนึ่งมุ่งบรรลุเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า อีกด้านหนึ่งยังคิดถึงความสะดวกสบายในอดีตกาลและความทุกข์ทรมานในการบำเพ็ญเพียร กิเลสมารทั้ง 2 ด้าน คือ ด้านที่เป็นอารมณ์น่าปรารถนา (อิฎฐารมณ์)ได้แก่ความยินดีความลุ่มหลงเพลิดเพลินอยู่กับความสุขสบายในขณะที่เป็นเจ้าชายสิทธัตถะ เป็นต้น อีกด้านหนึ่งคืออารมณ์ที่ไม่น่าปรารถนา(อนิฎฐารมณ์) ได้แก่ ความไม่สบายใจ ความขัดเคืองใจ ความย่อท้อ ความทุกข์ยากลำบากในการบำเพ็ญเพียรมาต่างๆ
นอกจากนั้นพระองค์ต้องเผชิญกับกิเลสมารจากธิดามารทั้ง 3 คือ นางราคา(มีลักษณะยั่วยวน) นางตัณหา(มีลักษณะสาวพราวเสน่ห์)และนางอรดี(มีลักษณะสาวอารมณ์ร้อน) ดังนั้นจะเห็นว่าพระองค์จะต้องต่อสู้กับจิตใจของพระองค์เองในการให้วิธีปฏิบัติการของมารจากการล่อลวง ไม่หลุดพ้นจากกิเลสทั้งปวง
ความเป็นมา
ในวันที่พระพุทธเจ้า ก่อนที่พระองค์จะทรงตรัสรู้นั้น ได้ประทับนั่งบนบัลลังก์หญ้าคา ที่โสตถิยะพราหมณ์ถวายใต้ต้นมหาโพธิ์นั้นพระองค์ได้ทรงตั้งปณิธานแน่วแน่ว่า “แม้เลือดเนื้อในสรีระทั้งสิ้นจะเหือดแห้งไป เหลือแต่เอ็นกระดูกเท่านั้นก็ตามที เรายังไม่บรรลุสัมธิญาณ ก็จะไม่ลุกขึ้นจากที่นั่งนี้” ดังนี้ ต่อจากนั้นจึงได้ประทับนั่งและทรงเริ่มบำเพ็ญเพียรทางจิต
ขณะนั้นเป็นเวลาพระอาทิตย์ตกดิน จอมมารที่ชื่อว่า สวัดคี ที่คอยขัดขวางการทำความดีของพระองค์ตลอดมาเมื่อทราบว่าพระดำริปณิธานอันแน่วแน่ของพระองค์เช่นนั้น ก็เกิดหวั่นเกรงว่า หากปล่อยให้บรรลุความสำเร็จตามปณิธานแล้ว พระองค์ก็จะพ้นอำนาจของตนไป จึงได้ระดมพลเสนามารทั้งหลายมาผจญเพื่อขับไล่ด้วยวิธีที่น่ากลัวต่างๆเช่น บันดาลให้พายุพัดรุนแรง บันดาลฝนให้ตกหนัก บันดาลให้ปรากฏเป็นอาวุธต่างระดมยิงเข้าไปเพื่อให้ตกต้องพระองค์แต่ว่าพระองค์ได้ทรงระลึกถึงความดีที่ได้ทรงบำเพ็ญมา ที่เรียกว่า พระบารมี 10 ประการ จึงทรงมีพระทัยมั่นคง ไม่หวาดกลัวต่ออำนาจมารที่มาแสดงด้วยประการต่างๆ นั้นและยิ่งกว่านั้น กลับกลายเป็นเครื่องสักการบูชาพระองค์ไปหมดสิ้นพญามารได้แสดงทุรวาจาให้พระองค์ลุกหนีออกไปเสีย โดยแสดงว่าบัลลังก์ที่ประทับนั้นเป็นของพญามารเอง เพราะพญามารก็ได้บำเพ็ญบารมีต่างๆมามากมายโดยอ้างเสนามารทั้งหลายเป็นพยาน เสนามารเหล่านั้นก็ร้องกึกก้องสนับสนุนเป็นเสียงเดียวกันในเวลานั้นพระโพธิสัตว์ไม่มีเสนาหรือใครอื่นที่จะอ้างมาเป็นพยาน จึงได้ทรงเหยียดพระหัตถ์เบื้องขวาชี้ลงไปที่แม่พระธรณีเป็นพยานเพระได้ทรงบำเพ็ญทานต่างๆเป็นอันมากและในการให้ทานทุกครั้งก็ได้ทรงหลั่งทักษิโณทก(หยาดน้ำ)ลงบนที่แผ่นดินซึ่งโดย บุคลาธิฏฐานก็เหมือนดังตนลงไปบนมวยผมของแม่พระธรณี เพราะฉะนั้นแม่พระธรณีจึงเท่ากับเป็นพยานในการทรงบริจาคทาน จึงได้ปรากฏเป็นนางธรณีบีบมวยผม ซึ่งชุ่มด้วยน้ำหลั่งออกมามากมายกลายเป็นทะเลหลวง ท่วมพญามารและเสนาทั้งหลาย ช้างคีรีเมขลาซึ่งพญามารบัญชาการอยู่นั้นก็ฟุบเท้าหน้าทั้งสองลงเป็นการถวายนมัสการพระพุทธองค์ พญามารพร้อมทั้งเสนามารจึงแตกพ่ายถูกน้ำพัดพาไปหมดสิ้นจึงเป็นอันได้ทรงชนะมารก่อนพระอาทิตย์อัสดง และก็พอดีเป็นเวลาพบค่ำ จึงได้เริ่มบำเพ็ญความเพียรต่อไปและก็ได้บรรลุญาณทั้ง 3 ตามลำดับคือในปฐมยาม ทรงบรรลุปุพเพนิวาสานุสสติญาณ คือ ความหยั่งรู้ในชาติภพก่อนๆกล่าวคือ ทรงระลึกชาติได้ในมัชฌิมยาม ทรงบรรลุจุตูปปาตณญาณ รู้จักกำหนดจุติและเกิด
ในปัจฉิมยาม ได้ทรงบรรลุอาสวักขยญาณ คือ ญาณเป็นเหตุทำอาสวะให้หมดสิ้นไป โดยได้ตรัสรู้ อริยสัจ 4เมื่อได้ตรัสรู้แล้ว ก็ยังประทับเสวยวิมุตติสุขที่โคนต้นมหาโพธิ์นั้นเป็นเวลา 7 วัน และสถานที่อื่นๆอีก แห่งละ 7 วัน และโดยเฉพาะเมื่อประทับเสวยวิมุติสุขที่โคนต้นไม้อชปาลนิโครธ มีเรื่องเล่าว่า พญามารมีความเศร้าโศกเสียใจที่ไม่สามารถเอาชนะพระพุทธเจ้าได้ จึงนั่งเป็นทุกข์อยู่ ธิดามารทั้ง 3 นางคือ นางตัณหา นางราคา และนางอรดี จึงได้มาอาสาที่จะนำพระพุทธเจ้ามาอยู่ในอำนาจให้ได้ แล้วก็เข้าไปที่โคนต้นอชปาลนิโครธที่ประทับ ทั้ง 3 นาง โดยแสดงเป็นสตรีเพศอยู่ในวัยต่างๆโดยคิดว่าบุรุษเพศย่อมชอบ ย่อมมีรสนิยมในสตรีเพศต่างวัยกัน จึงได้มาแสดงเป็นสตรีเพศวัยรุ่นบ้าง วัยกลางคนบ้าง เป็นวัยแม่ลูกอ่อนบ้าง หมายมั่นที่จะให้พระองค์พอพระทัย แต่พระพุทธองค์ก็ได้ทรงแสดงพระวาจาประกาศความเป็นผู้สิ้นกิเลส ไม่ข้องแวะด้วยตัณหา ราคะและอรดี ทั้งมวลไม่ทรงสนพระทัยแม้แต่น้อยธิดามารทั้ง 3 ก็พ่ายแพ้ไปอีก จึงเป็นอันพระองค์ทรงชนะมารโดยเด็ดขาด
บทวิเคราะห์
คำว่า “มาร” ในพระพุทธศาสนา หมายถึง สิ่งที่ฆ่าบุคคลให้ตายจากคุณความดี สิ่งที่ล้างผลาญคุณความดีหรือเป็นผู้กำจัด ขัดขวางบุคคลมิให้บรรลุผลสำเร็จอันดีงาม ประกอบด้วย
1. กิเลสมาร หมายถึง การที่ยั่วยุให้คิดในกามคุณ ได้แก่ รูป รส กลิ่น เสียง และสัมผัส ซึ่งมีได้ทั้งด้านที่จิตใจไปคิดในกามคุณ และการตกแต่งวัตถุเนื้อหนังให้สวยงามจนเกิดความหลงติดใจ
2. ขันธมาร หมายถึง หมายถึง มารคือขันธ์ 5 เป็นความหลงในสภาพที่ปัจจัยปรุงแต่งขึ้น เช่น หลงตนเอง หรือการไปทำศัลยกรรมตกแต่งร่างกายตนเอง ทำให้ตัดโอกาสมิให้บุคคลทำกิจหน้าที่บำเพ็ญคุณความดีได้เต็มปรารถนา หรืออาจพลาดโอกาสนั้นโดยสิ้นเชิง
3. อภิสังขารมาร หมายถึง มารที่ขัดขวางมิให้หลุดพ้นจากสังสารวัฎ มีเจตนาชั่ว
4. เทวปุตตมาร หมายถึง มารคือเทพบุตร คอยขัดขวางเหนี่ยวรั้งบุคคลไว้ มิให้ล่วงพ้นจากแดนอำนาจครอบงำของตน โดยชักนำให้ห่วงพะวงในกามสุข ไม่อาจหายเสียสละออกไปบำเพ็ญคุณความดีที่ยิ่งใหญ่
5. มัจจุมาร หมายถึง มารคือ ความตาย เพราะความตายเป็นตัวการตัดโอกาสที่จำให้ทำความดีงามทั้งหลายได้ มารมีวิธีปฏิบัติการสำคัญ 2 อย่าง ได้แก่ การล่อลวงและการจองจำเป้าหมายก็คือ การล่อลวงหรือจองจำจิตวิญาณของมนุษย์ให้ลุ่มหลงมัวเมา ตกเป็นทาสของมารในที่สุด
ดังนั้น มารที่พระพุทธองค์ได้พบ สามารถวิเคราะห์ได้ว่า เกิดขึ้นมาจากมารทั้ง 4 ข้อแรก คือ กิเลสมาร ขันธมารอภิสังขารมารและ
เทวปุตตมาร แต่มารที่ทำ หน้าที่เด่นที่สุด คือ กิเลสมารที่เกิดขึ้นในพระทัยของพระองค์ ซึ่งจะเป็นตัวขัดขวางมิให้พระองค์ตรัสรู้ได้ อันได้แก่ การต่อสู้ทางความคิดของพระองค์ระหว่างกิเลสกับธรรมะด้านหนึ่งมุ่งบรรลุเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า อีกด้านหนึ่งยังคิดถึงความสะดวกสบายในอดีตกาลและความทุกข์ทรมานในการบำเพ็ญเพียร กิเลสมารทั้ง 2 ด้าน คือ ด้านที่เป็นอารมณ์น่าปรารถนา (อิฎฐารมณ์)ได้แก่ความยินดีความลุ่มหลงเพลิดเพลินอยู่กับความสุขสบายในขณะที่เป็นเจ้าชายสิทธัตถะ เป็นต้น อีกด้านหนึ่งคืออารมณ์ที่ไม่น่าปรารถนา(อนิฎฐารมณ์) ได้แก่ ความไม่สบายใจ ความขัดเคืองใจ ความย่อท้อ ความทุกข์ยากลำบากในการบำเพ็ญเพียรมาต่างๆ
นอกจากนั้นพระองค์ต้องเผชิญกับกิเลสมารจากธิดามารทั้ง 3 คือ นางราคา(มีลักษณะยั่วยวน) นางตัณหา(มีลักษณะสาวพราวเสน่ห์)และนางอรดี(มีลักษณะสาวอารมณ์ร้อน) ดังนั้นจะเห็นว่าพระองค์จะต้องต่อสู้กับจิตใจของพระองค์เองในการให้วิธีปฏิบัติการของมารจากการล่อลวง ไม่หลุดพ้นจากกิเลสทั้งปวง
ดังนั้นการชนะมารของพระองค์เป็นชัยชนะที่ยิ่งใหญ่ นั่นคือชัยชนะที่มีต่อความคิดของตนเองจนถึงขั้นหลุดพ้น เป็นอิสระจากกิเลสทั้งปวงและบรรลุพระสัมมาสัมโพธิญาณในที่สุดพระพุทธองค์แสดงเป็นตัวอย่างได้เห็นว่า “มนุษย์สามารถเอาชนะกิเลสที่เกิดขึ้นในใจของตนได้”ซึ่งถือว่าเป็นชัยชนะอันยิ่งใหญ่
พระสิทธัตถะ ได้เสด็จอยู่ตามลำพังทรงฝึกฝนอบรมจิตใจให้สงบ และในเช้ากลางเดือน 6 ทรงรับข้าว “มธุปายาส” จากนางสุชาดา ซึ่งเข้าใจว่าพระองค์ว่าเป็นเทพยดาจึงนำข้าวมธุปายาสไปถวาย หลังจากเสวยแล้ว พระองค์ได้ทรงลอยถาดในแม่น้ำ เนรัญชรา ทรงรับหญ้าคา 8 กำ จากนายโสตถิยะมาปูลาดเป็นอาสนะ (ที่นั่ง) ณ โคนต้นโพธิ์ ประทับนั่งขัดสมาธิผินพระพักตร์ไปทางทิศทางตะวันออก แล้วทรงตั้งพระทัยแน่วแน่ว่า ถ้าไม่สำเร็จทางพ้นทุกข์จะไม่ ยอมเสด็จลุกไปไหนถึงแม้เนื้อและเลือดจะเหือดแห้งก็ตาม ทรงพิจารณาความเป็นไปของธรรมชาติทั้งหลายจนเกิดญาณ(การหยั่งรู้สิ่งทั้งหลายตามความเป็นจริง) สิ่งที่พระองค์ตรัสรู้เรียกว่า อริยสัจฺ (ความจริงอันประเสริฐ) 4 ประการ คือ
1) ทุกข์ ความทุกข์ หรือปัญหาของชีวิตทั้งหมด
2) สมุทัย สาเหตุของทุกข์ หรือสาเหตุของปัญหาชีวิต
3) นิโรธ ความดับทุกข์ หรือภาวะหมดปัญหา
4) มรรค ทางดับทุกข์หรือแนวทางแก้ปัญหาชีวิต
การตรัสรู้
พระสิทธัตถะ ได้ตรัสรู้พระพุทธเจ้า เมื่อยำรุ่งของคืนวันเพ็ญ เดือน 6 ก่อนพุทธศักราช 45 ปี ขณะที่พระองค์มีพระชนมายุได้ 35 พรรษาหลังจากตรัสรู้แล้ว พระพุทธเจ้าได้ทรงพักผ่อนเป็นเวลา 7 สัปดาห์ แล้ว เสด็จไปเผยแผ่พระพุทธศาสนา ทรงคิดถึงพระอาจารย์ทั้งสอง คืออาฬรดาบส และอุทกดาบส แต่ท่านทั้งสองได้สิ้นชีพแล้ว จึงเสด็จไปโปรดปัญจวัคคีย์ ณ ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสีพระธรรมเทศนาที่พระองค์แสดงครั้งแรกเรียกว่า ปฐมเทศนา พระธรรมที่ทรงแสดงเรียกว่า ธรรมจักรกัปปวัตนสูตร หลังจากฟังพระธรรมเทศนา โกณทัญญะ ได้ดวงตาเห็นธรรมจึงทูลขอบวช นับว่าเป็นพระสงฆ์องค์แรกในโลก ต่อจากนั้นทรงแสดงธรรมเทศนาโปรดอีก 4 ท่าน จนเกิดความเข้าใจธรรมและทูลขอบวชตามลำดับ และทั้ง 5 ท่าน ก็ได้สำเร็จเป็นพระอรหันต์
บทวิเคราะห์
พระพุทธศาสนา คือคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า และคำสั่งสอนนี้ ถ้าจะกล่าวอีกอย่างหนึ่งก็คือเรื่องของความจริงที่มีอยู่แล้วตามธรรมชาติเป็นแต่ว่าพระพุทธเจ้าทรงค้นพบแล้วนำมาชี้แจงเปิดเผยพระพุทธเจ้าเคยตรัสว่าสภาพธรรมหรือทำนองคลองธรรม เป็นของมีอยู่แล้ว ไม่ว่าจะมีพระพุทธเจ้าเกิดขึ้นหรือไม่ พระพุทธเจ้าเป็นผู้ที่ตรัสรู้สภาพธรรมนั้นๆแล้วนำมาบอกเล่าให้เข้าใจชัดขึ้นความจริงหรือสัจจธรรมที่มีอยู่แล้วตามธรรมชาตินี้จึงเป็นของกลางสำหรับทุกคนและมิใช่สิ่งที่ประดิษฐหรือคิดขึ้นตามอารมณ์เพ้อฝันพระพุทธเจ้าตรัสว่า ตราบใดที่พระองค์ยังมิได้ตรัสรู้ความจริงในลักษณะ 3 อย่าง คือ รู้ตัวความจริง รู้หน้าที่อันควรทำเกี่ยวกับความจริงนั้น และรู้ว่าได้ทำหน้าที่สำเร็จบริบูรณ์แล้ว ตราบนั้นพระองค์ก็ยังไม่อาจกล่าวได้ว่าตรัสรู้แล้ว ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ความจริงนั้นพระองค์ก็ได้ทรงลงมือปฎิบัติจนค้นพบประจักษ์แล้ว พระองค์จึงได้นำมาสั่งสอนสัจจธรรมหรือความจริงที่มีอยู่แล้วตามธรรมชาติที่พระพุทธเจ้าทรงค้นพบนั้น ได้แก่ ทรงรู้แจ้งหรือรู้อริยสัจ 4 คือ ความจริงอันประเสริฐ 4 อย่าง ได้แก่ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค ซึ่งอธิบายได้ดังนี้
1) ทุกข์ คือ ความทุกข์ ,สภาพที่ทนได้ยาก,สภาวะที่บีบคั้น ขัดแย้ง บกพร่อง ขาดแก่นสารและความเที่ยงแท้ ไม่ให้ความพึงพอใจแท้จริง ได้แก่ ชาติ ชรา มรณะ การประจวบกับสิ่งอันไม่เป็นที่รัก การพลัดพรากจากสิ่งที่รัก ความปรารถนาไม่สมหวังหรือปัญหาของชีวิตทั้งหมด
2) สมุทัย คือ สาเหตุของทุกข์ ได้แก่ ตัณหา 3 หรือ กามตัณหา ภวตัณหา และวิภวตัณหา หรือสาเหตุของปัญหาชีวิต
3) นิโรธ คือ ความดับทุกข์ ได้แก่ ภาวะที่ตัณหาดับสิ้นไป ภาวะที่เข้าถึงเมื่อกำจัดอวิชชา หมดสิ้นตัณหาแล้วไม่ติดข้อง หลุดพ้น สงบ ปลอดโปร่ง เป็นอิสระ คือนิพพาน หรือภาวะหมดปัญหา
4) มรรค คือ ทางดับทุกข์ ข้อปฎิบัติให้ถึงความดับทุกข์ ได้แก่ มัชณิมปฎิปทา แปลว่า ทางสายกลาง คือมรรคมีองค์ 8 ได้แก่ สัมมาทิฎฐิ ความเห็นชอบ สัมมาสังกัปปะ ความดำริชอบ สัมมาวาจา เจรจาชอบ สัมมากัมมันตะ การงานชอบ สัมมาอาชีวะ เลี้ยงชีพชอบ สัมมาวายามะ พยายามชอบ สัมมาสติ ระลึกชอบ และสัมมาสมาธิ ตั้งจิตชอบ หรือแนวทางแก้ปัญหาชีวิตกรณี พิณ3 สาย เป็นสัญลักษณ์ของการมุ่งสู่”มัชฌิมาปฏิปทา คือทางสายกลาง”ของพระพุทธองค์ กล่าวคือ เมื่อพระพุทธองค์ได้บำเพ็ญทุกรกิริยาอยู่นั้นถือว่าเป็นการทรมานตนเอง เป็นการปฏิบัติที่เคร่งครัดเกินไปในลักษณะ”สุดโต่ง”นั่นคือ หากสายพิณตึงเกินไป หรือหย่อนยานเกินไป เสียงก็ไม่ไพเราะ น่าฟัง หากสายพิณตึงพอดี พอดีดเข้าไปก็บังเกิดเสียงไพเราะน่าฟัง พระพุทธองค์จึงทรงเห็นว่า การดำเนินทางสายกลางเท่านั้นจึงเป็นหนทางสู่ความพ้นทุกข์ได้ ในกรณีนี้จะเห็นได้ว่า การดำเนินกิจกรรมใดๆก็ตามควรทำอะไรที่สุดโต่งเกินไป เช่น ไม่หักโหมทำการงานมากเกินไป ควรมีเวลาพักผ่อนบ้าง หรือไม่ปล่อยตัวตามสบายเกินไป จนไม่ทำอะไรเป็นชิ้นเป็นอัน ควรทำแต่พอดี มีการวางแผนแบ่งเวลาให้เหมาะสม เป็นต้น
การสั่งสอน
การตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า ก็คือ การรู้แจ้งความจริงอันประเสริฐ 4 ประการนี้ซึ่งมีอยู่แล้วตามธรรมชาติ ฉะนั้นคำสั่งสอนของ
พระพุทธเจ้าที่เรียกว่า พระพุทธศาสนา จึงเป็นหลักคำสอนที่เกี่ยวกับความจริงที่มีเหตุผลสมบูรณ์ถูกต้อง และสามารถนำมาประพฤติปฏิบัติ และได้รับผลด้วยตนเอง พิสูจน์ได้ ไม่จำกัดกาลเวลา ฉะนั้นในพระพุทธศาสนาจึงไม่มีคำสอนชนิดที่เรียกว่า ”เดา” หรือ ”สันนิษฐาน” หรือ ”คาดคะเน (สมมุติฐาน)” ว่าจะเป็นอย่างนั้นอย่างนี้ ต้องเป็นความจริงที่ได้ค้นคว้าประจักษ์แจ้งแล้วจึงใช้ได้
พระพุทธเจ้ามีหลักการสอนดังนี้
1. ทรงคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล โดยเน้นความแตกต่างด้านสติปัญญา กล่าวถึงวิธีการสอนแต่ละบุคคลไว้อย่างชัดเจนและเปรียบเทียบให้เห็นชัดเจน ด้วยดอกบัว 4 เหล่า ดังนี้
1.1 อุคฆปฏิตัญญู ได้แก่ ผู้มีปัญญาฉลาดเฉียบแหลม(abnormal)เพียงแค่ยกหัวข้อขึ้นแสดงก็สมารถรู้และเข้าใจได้ทันทีเปรียบเสมือนดอกบัวที่อยู่เหนือน้ำรอคอยแสงอาทิตย์พออาทิตย์ฉายแสง ก็เบ่งบานได้ทันที
1.2 วิปจิตัญญู ได้แก่ ผู้มีปัญญาอยู่ในระดับปานกลาง(normal)ต้องอธิบาย ขยายความแห่งข้อนั้นๆแล้ว จึงจะสามารถรู้และเข้าใจได้เปรียบเหมือนดอกบัวที่อยู่เสมอผิวน้ำจะบานในพรุ่งนี้
1.3 เนยยะ ได้แก่ ผู้ที่พอจะแนะนำได้(borderline) คือพอจะฝึกสอนอบรมให้รู้และเข้าใจได้อยู่และจะต้องยกตัวอย่างประกอบให้ชัดเจนเปรียบเหมือนดอกบัวที่ยังโผล่ไม่พ้นน้ำ ซึ่งจักบานในวันต่อๆไป
1.4 ปทปรมะ ได้แก่ผู้ด้อยปัญญา (mentally defective)สอนให้รู้ได้แต่เพียงพบคือ พยัญชนะหรือถ้อยคำ แต่ไม่อาจเข้าใจความหมายได้เปรียบเหมือนดอกบัวที่ยังจมอยู่ในน้ำ โคลนตม ซึ่งย่อมเป็นภักษาแห่งปลาและเต่า
2. สอนโดยคำนึงถึงเนื้อหาที่สอน เช่น
2.1 สอนจากเนื้อหาที่ง่ายไปสู่เนื้อหาที่ยาก โดยเรียงลำดับเนื้อหาให้เข้าใจอย่างชัดเจนตามลำดับ เช่น การสอนอริยสัจ 4 คือ (1)ทุกข์ (2) เหตุแห่งทุกข์(3)ความดับทุกข์ (4)หนทางปฎิบัติให้ถึงความดับทุกข์
2.2 สอนด้วยวิธีการปฏิบัติ เช่น สอนวิธีการปฏิบัติสมถะวิปัสสนากัมมัฏฐานฐาน สอนวัตรปฏิบัติของพระภิกษุสงฆ์ เป็นต้น
2.3 สอนให้มีเหตุมีผล ไม่เชื่อง่าย เช่น หลักการสอนในกาลามสูตร 10 ประการ หรือสอนให้เข้าใจถึงกฎธรรมชาติที่เป็นไปตามเหตุปัจจัย เช่น อิทัปปัจจยตา หรือไตรลักษณ์
2.4 สอนให้รู้ให้เข้าใจถึงองค์ประกอบของสิ่งมีชีวิต ในลักษณะองค์รวม (Holistic) เช่น หลักของขันธ์ 5 มนุษย์ประกอบด้วย นาม รูป (รูป+นาม)
2.5 สอนให้รู้จักประพฤติปฏิบัติตนให้อยู่ในทางสายกลาง ไม่สุดโต่งในด้านใดด้านหนึ่ง เรียกว่า มัชฌิมปฏิปทา เช่นปฏิบัติตามอริยมรรค 8
3. สอนโดยคำนึงถึงลักษณะการสอน เช่น
3.1 สอนโดยการยอตัวอย่างประกอบการสอน เช่น ยกเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแต่ปางก่อนที่เรียกว่า ชาดก ประกอบการสอนให้เข้าใจง่ายขึ้น
3.2 สอนโดยการสร้างบรรยากาศในการสอนให้ปลอดโปร่ง เพลิดเพลิน ไม่ตึงเครียด สอนเรื่องยากให้เป็นเรื่องง่ายๆผู้ฟังจึงเข้าใจง่ายๆผู้ฟังจึงเข้าใจง่าย
3.3 สอนได้ทุกสถานการณ์ ทุกสถานที่ และปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์นั้น ๆ เช่น สอนตามต้นไม้ สอนองคุลีมาร
3.4 สอนแบบรู้แจ้ง จนผู้ที่ได้สดับฟังสามารถบรรลุพระอรหันต์ได้ เช่น สอนนางกีสาโคตรมี โดยให้สืบหาเมล็ดพันธุ์ผักกาดเพื่อเป็นส่วนประกอบของยาชุบชีวิตบุตร จนนางกีสาโคตรมีบรรลุถึงสัจธรรมของความตาย เป็นต้น
3.5 สอนโดยใช้ภาษาสุภาพ นุ่นนวล เหมาะสม เช่น สอนคนไม่ดีด้วย ความดี สอนคนโกรธด้วยความไม่โกธร เป็นต้น
1) ทุกข์ ความทุกข์ หรือปัญหาของชีวิตทั้งหมด
2) สมุทัย สาเหตุของทุกข์ หรือสาเหตุของปัญหาชีวิต
3) นิโรธ ความดับทุกข์ หรือภาวะหมดปัญหา
4) มรรค ทางดับทุกข์หรือแนวทางแก้ปัญหาชีวิต
การตรัสรู้
พระสิทธัตถะ ได้ตรัสรู้พระพุทธเจ้า เมื่อยำรุ่งของคืนวันเพ็ญ เดือน 6 ก่อนพุทธศักราช 45 ปี ขณะที่พระองค์มีพระชนมายุได้ 35 พรรษาหลังจากตรัสรู้แล้ว พระพุทธเจ้าได้ทรงพักผ่อนเป็นเวลา 7 สัปดาห์ แล้ว เสด็จไปเผยแผ่พระพุทธศาสนา ทรงคิดถึงพระอาจารย์ทั้งสอง คืออาฬรดาบส และอุทกดาบส แต่ท่านทั้งสองได้สิ้นชีพแล้ว จึงเสด็จไปโปรดปัญจวัคคีย์ ณ ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสีพระธรรมเทศนาที่พระองค์แสดงครั้งแรกเรียกว่า ปฐมเทศนา พระธรรมที่ทรงแสดงเรียกว่า ธรรมจักรกัปปวัตนสูตร หลังจากฟังพระธรรมเทศนา โกณทัญญะ ได้ดวงตาเห็นธรรมจึงทูลขอบวช นับว่าเป็นพระสงฆ์องค์แรกในโลก ต่อจากนั้นทรงแสดงธรรมเทศนาโปรดอีก 4 ท่าน จนเกิดความเข้าใจธรรมและทูลขอบวชตามลำดับ และทั้ง 5 ท่าน ก็ได้สำเร็จเป็นพระอรหันต์
บทวิเคราะห์
พระพุทธศาสนา คือคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า และคำสั่งสอนนี้ ถ้าจะกล่าวอีกอย่างหนึ่งก็คือเรื่องของความจริงที่มีอยู่แล้วตามธรรมชาติเป็นแต่ว่าพระพุทธเจ้าทรงค้นพบแล้วนำมาชี้แจงเปิดเผยพระพุทธเจ้าเคยตรัสว่าสภาพธรรมหรือทำนองคลองธรรม เป็นของมีอยู่แล้ว ไม่ว่าจะมีพระพุทธเจ้าเกิดขึ้นหรือไม่ พระพุทธเจ้าเป็นผู้ที่ตรัสรู้สภาพธรรมนั้นๆแล้วนำมาบอกเล่าให้เข้าใจชัดขึ้นความจริงหรือสัจจธรรมที่มีอยู่แล้วตามธรรมชาตินี้จึงเป็นของกลางสำหรับทุกคนและมิใช่สิ่งที่ประดิษฐหรือคิดขึ้นตามอารมณ์เพ้อฝันพระพุทธเจ้าตรัสว่า ตราบใดที่พระองค์ยังมิได้ตรัสรู้ความจริงในลักษณะ 3 อย่าง คือ รู้ตัวความจริง รู้หน้าที่อันควรทำเกี่ยวกับความจริงนั้น และรู้ว่าได้ทำหน้าที่สำเร็จบริบูรณ์แล้ว ตราบนั้นพระองค์ก็ยังไม่อาจกล่าวได้ว่าตรัสรู้แล้ว ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ความจริงนั้นพระองค์ก็ได้ทรงลงมือปฎิบัติจนค้นพบประจักษ์แล้ว พระองค์จึงได้นำมาสั่งสอนสัจจธรรมหรือความจริงที่มีอยู่แล้วตามธรรมชาติที่พระพุทธเจ้าทรงค้นพบนั้น ได้แก่ ทรงรู้แจ้งหรือรู้อริยสัจ 4 คือ ความจริงอันประเสริฐ 4 อย่าง ได้แก่ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค ซึ่งอธิบายได้ดังนี้
1) ทุกข์ คือ ความทุกข์ ,สภาพที่ทนได้ยาก,สภาวะที่บีบคั้น ขัดแย้ง บกพร่อง ขาดแก่นสารและความเที่ยงแท้ ไม่ให้ความพึงพอใจแท้จริง ได้แก่ ชาติ ชรา มรณะ การประจวบกับสิ่งอันไม่เป็นที่รัก การพลัดพรากจากสิ่งที่รัก ความปรารถนาไม่สมหวังหรือปัญหาของชีวิตทั้งหมด
2) สมุทัย คือ สาเหตุของทุกข์ ได้แก่ ตัณหา 3 หรือ กามตัณหา ภวตัณหา และวิภวตัณหา หรือสาเหตุของปัญหาชีวิต
3) นิโรธ คือ ความดับทุกข์ ได้แก่ ภาวะที่ตัณหาดับสิ้นไป ภาวะที่เข้าถึงเมื่อกำจัดอวิชชา หมดสิ้นตัณหาแล้วไม่ติดข้อง หลุดพ้น สงบ ปลอดโปร่ง เป็นอิสระ คือนิพพาน หรือภาวะหมดปัญหา
4) มรรค คือ ทางดับทุกข์ ข้อปฎิบัติให้ถึงความดับทุกข์ ได้แก่ มัชณิมปฎิปทา แปลว่า ทางสายกลาง คือมรรคมีองค์ 8 ได้แก่ สัมมาทิฎฐิ ความเห็นชอบ สัมมาสังกัปปะ ความดำริชอบ สัมมาวาจา เจรจาชอบ สัมมากัมมันตะ การงานชอบ สัมมาอาชีวะ เลี้ยงชีพชอบ สัมมาวายามะ พยายามชอบ สัมมาสติ ระลึกชอบ และสัมมาสมาธิ ตั้งจิตชอบ หรือแนวทางแก้ปัญหาชีวิตกรณี พิณ3 สาย เป็นสัญลักษณ์ของการมุ่งสู่”มัชฌิมาปฏิปทา คือทางสายกลาง”ของพระพุทธองค์ กล่าวคือ เมื่อพระพุทธองค์ได้บำเพ็ญทุกรกิริยาอยู่นั้นถือว่าเป็นการทรมานตนเอง เป็นการปฏิบัติที่เคร่งครัดเกินไปในลักษณะ”สุดโต่ง”นั่นคือ หากสายพิณตึงเกินไป หรือหย่อนยานเกินไป เสียงก็ไม่ไพเราะ น่าฟัง หากสายพิณตึงพอดี พอดีดเข้าไปก็บังเกิดเสียงไพเราะน่าฟัง พระพุทธองค์จึงทรงเห็นว่า การดำเนินทางสายกลางเท่านั้นจึงเป็นหนทางสู่ความพ้นทุกข์ได้ ในกรณีนี้จะเห็นได้ว่า การดำเนินกิจกรรมใดๆก็ตามควรทำอะไรที่สุดโต่งเกินไป เช่น ไม่หักโหมทำการงานมากเกินไป ควรมีเวลาพักผ่อนบ้าง หรือไม่ปล่อยตัวตามสบายเกินไป จนไม่ทำอะไรเป็นชิ้นเป็นอัน ควรทำแต่พอดี มีการวางแผนแบ่งเวลาให้เหมาะสม เป็นต้น
การสั่งสอน
การตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า ก็คือ การรู้แจ้งความจริงอันประเสริฐ 4 ประการนี้ซึ่งมีอยู่แล้วตามธรรมชาติ ฉะนั้นคำสั่งสอนของ
พระพุทธเจ้าที่เรียกว่า พระพุทธศาสนา จึงเป็นหลักคำสอนที่เกี่ยวกับความจริงที่มีเหตุผลสมบูรณ์ถูกต้อง และสามารถนำมาประพฤติปฏิบัติ และได้รับผลด้วยตนเอง พิสูจน์ได้ ไม่จำกัดกาลเวลา ฉะนั้นในพระพุทธศาสนาจึงไม่มีคำสอนชนิดที่เรียกว่า ”เดา” หรือ ”สันนิษฐาน” หรือ ”คาดคะเน (สมมุติฐาน)” ว่าจะเป็นอย่างนั้นอย่างนี้ ต้องเป็นความจริงที่ได้ค้นคว้าประจักษ์แจ้งแล้วจึงใช้ได้
พระพุทธเจ้ามีหลักการสอนดังนี้
1. ทรงคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล โดยเน้นความแตกต่างด้านสติปัญญา กล่าวถึงวิธีการสอนแต่ละบุคคลไว้อย่างชัดเจนและเปรียบเทียบให้เห็นชัดเจน ด้วยดอกบัว 4 เหล่า ดังนี้
1.1 อุคฆปฏิตัญญู ได้แก่ ผู้มีปัญญาฉลาดเฉียบแหลม(abnormal)เพียงแค่ยกหัวข้อขึ้นแสดงก็สมารถรู้และเข้าใจได้ทันทีเปรียบเสมือนดอกบัวที่อยู่เหนือน้ำรอคอยแสงอาทิตย์พออาทิตย์ฉายแสง ก็เบ่งบานได้ทันที
1.2 วิปจิตัญญู ได้แก่ ผู้มีปัญญาอยู่ในระดับปานกลาง(normal)ต้องอธิบาย ขยายความแห่งข้อนั้นๆแล้ว จึงจะสามารถรู้และเข้าใจได้เปรียบเหมือนดอกบัวที่อยู่เสมอผิวน้ำจะบานในพรุ่งนี้
1.3 เนยยะ ได้แก่ ผู้ที่พอจะแนะนำได้(borderline) คือพอจะฝึกสอนอบรมให้รู้และเข้าใจได้อยู่และจะต้องยกตัวอย่างประกอบให้ชัดเจนเปรียบเหมือนดอกบัวที่ยังโผล่ไม่พ้นน้ำ ซึ่งจักบานในวันต่อๆไป
1.4 ปทปรมะ ได้แก่ผู้ด้อยปัญญา (mentally defective)สอนให้รู้ได้แต่เพียงพบคือ พยัญชนะหรือถ้อยคำ แต่ไม่อาจเข้าใจความหมายได้เปรียบเหมือนดอกบัวที่ยังจมอยู่ในน้ำ โคลนตม ซึ่งย่อมเป็นภักษาแห่งปลาและเต่า
2. สอนโดยคำนึงถึงเนื้อหาที่สอน เช่น
2.1 สอนจากเนื้อหาที่ง่ายไปสู่เนื้อหาที่ยาก โดยเรียงลำดับเนื้อหาให้เข้าใจอย่างชัดเจนตามลำดับ เช่น การสอนอริยสัจ 4 คือ (1)ทุกข์ (2) เหตุแห่งทุกข์(3)ความดับทุกข์ (4)หนทางปฎิบัติให้ถึงความดับทุกข์
2.2 สอนด้วยวิธีการปฏิบัติ เช่น สอนวิธีการปฏิบัติสมถะวิปัสสนากัมมัฏฐานฐาน สอนวัตรปฏิบัติของพระภิกษุสงฆ์ เป็นต้น
2.3 สอนให้มีเหตุมีผล ไม่เชื่อง่าย เช่น หลักการสอนในกาลามสูตร 10 ประการ หรือสอนให้เข้าใจถึงกฎธรรมชาติที่เป็นไปตามเหตุปัจจัย เช่น อิทัปปัจจยตา หรือไตรลักษณ์
2.4 สอนให้รู้ให้เข้าใจถึงองค์ประกอบของสิ่งมีชีวิต ในลักษณะองค์รวม (Holistic) เช่น หลักของขันธ์ 5 มนุษย์ประกอบด้วย นาม รูป (รูป+นาม)
2.5 สอนให้รู้จักประพฤติปฏิบัติตนให้อยู่ในทางสายกลาง ไม่สุดโต่งในด้านใดด้านหนึ่ง เรียกว่า มัชฌิมปฏิปทา เช่นปฏิบัติตามอริยมรรค 8
3. สอนโดยคำนึงถึงลักษณะการสอน เช่น
3.1 สอนโดยการยอตัวอย่างประกอบการสอน เช่น ยกเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแต่ปางก่อนที่เรียกว่า ชาดก ประกอบการสอนให้เข้าใจง่ายขึ้น
3.2 สอนโดยการสร้างบรรยากาศในการสอนให้ปลอดโปร่ง เพลิดเพลิน ไม่ตึงเครียด สอนเรื่องยากให้เป็นเรื่องง่ายๆผู้ฟังจึงเข้าใจง่ายๆผู้ฟังจึงเข้าใจง่าย
3.3 สอนได้ทุกสถานการณ์ ทุกสถานที่ และปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์นั้น ๆ เช่น สอนตามต้นไม้ สอนองคุลีมาร
3.4 สอนแบบรู้แจ้ง จนผู้ที่ได้สดับฟังสามารถบรรลุพระอรหันต์ได้ เช่น สอนนางกีสาโคตรมี โดยให้สืบหาเมล็ดพันธุ์ผักกาดเพื่อเป็นส่วนประกอบของยาชุบชีวิตบุตร จนนางกีสาโคตรมีบรรลุถึงสัจธรรมของความตาย เป็นต้น
3.5 สอนโดยใช้ภาษาสุภาพ นุ่นนวล เหมาะสม เช่น สอนคนไม่ดีด้วย ความดี สอนคนโกรธด้วยความไม่โกธร เป็นต้น
ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. สามารถอธิบายการเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้านและการนับถือพระพุทธศาสนาของประเทศเพื่อนบ้าน
ในปัจจุบันได้
2. สามารถอธิบายความสำคัญของพระพุทธศาสนาที่ช่วยเสริมสร้างความเข้าใจอันดีกับประเทศเพื่อนบ้านได้
3. สามารถอธิบายความสำคัญของพระพุทธศาสนาต่อสังคมไทยในฐานะเป็นรากฐานของวัฒนธรรมและเอกลักษณ์และ
มรดกของชาติได้
4. สามารถสรุปและวิเคราะห์พุทธประวัติเกี่ยวกับการผจญมารได้
5. สามารถสรุปและวิเคราะห์พุทธประวัติเกี่ยวกับการตรัสรู้ได้
6. สามารถสรุปและวิเคราะห์พุทธประวัติเกี่ยวกับการสั่งสอนได้
แบบทดสอบก่อนเรียน - หลังเรียน
1. สามารถอธิบายการเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้านและการนับถือพระพุทธศาสนาของประเทศเพื่อนบ้าน
ในปัจจุบันได้
2. สามารถอธิบายความสำคัญของพระพุทธศาสนาที่ช่วยเสริมสร้างความเข้าใจอันดีกับประเทศเพื่อนบ้านได้
3. สามารถอธิบายความสำคัญของพระพุทธศาสนาต่อสังคมไทยในฐานะเป็นรากฐานของวัฒนธรรมและเอกลักษณ์และ
มรดกของชาติได้
4. สามารถสรุปและวิเคราะห์พุทธประวัติเกี่ยวกับการผจญมารได้
5. สามารถสรุปและวิเคราะห์พุทธประวัติเกี่ยวกับการตรัสรู้ได้
6. สามารถสรุปและวิเคราะห์พุทธประวัติเกี่ยวกับการสั่งสอนได้
แบบทดสอบก่อนเรียน - หลังเรียน
- 1. ข้อใดปฏิบัติตามสายพิณที่ตึงพอดี ไม่หย่อนหรือตึงเกินไป ?
- สุดสายมาโรงเรียนสายทุกวัน
- สุดสวยชอบแต่งหน้าเข้มเป็นประจำ
สุดแสบชอบแกล้งเพื่อนเจ็บ ๆ
สุดสาครชอบแบ่งเวลาในการทำงาน
- 2. เพราะเหตุใดศาสนาอิสลามจึงเจริญรุ่งเรืองในประเทศมาเลเซียมากกว่าศาสนาพุทธ ?
- การนับถือของราชวงศ์ในประเทศ และบังคับประชาชนให้นับถือศาสนาอิสลาม ไม่มีใครสืบทอดพระพุทธศาสนา ประเทศมาเลเซียเป็นศูนย์กลางของศาสนาอิสลาม การทำลายศาสนสถานของพระพุทธศาสนา
- 3. “ธรรมเนียมไทยแท้แต่โบราณ ใครมาถึงเรือนชานต้องต้อนรับ” ข้อความข้างต้นแสดงให้เห็นถึงอิทธิพลทางพระพุทธศาสนาที่มีต่อคนไทยในด้านใด ?
- ภาษา จิตใจ ประเพณี ศิลป
- 4. การสั่งสอนโดยเปรียบเทียบเป็นดอกบัว 4 เหล่า เป็นตัวอย่างของหลักการสอนแบบใดของพระพุทธเจ้า ?
- การสอนโดยคำนึงถึงผู้เรียน การสอนโดยคำนึงถึงผู้สอน การสอดโดยคำนึงถึงเนื้อหาที่สอน การสอนโดยการแยกแยะ
- 5. ปัจจุบันประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศอินโดนีเซีย นับถือศาสนาอะไร ?
- ศาสนาอิสลาม ศาสนาคริตส์ ศาสนาพุทธ ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
- 6. กษัตริย์องค์ใดของพม่าที่โปรดเกล้าฯ ให้จารึกพระไตรปิฎกลงบนแผ่นหินอ่อน ?
- พระเจ้าอโนรธามังช่อ พระเจ้ามินดง พระเจ้าอลองพญา พระเจ้าตะเบงชะเวตี้
- 7. ประเทศใดนับถือนิกายไศวะ ก่อนที่พระพุทธศาสนาจะเผยแผ่เข้าไปถึง
- ประเทศกัมพูชา ประเทศเวียดนาม ประเทศลาว ประเทศพม่า
- 8. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับ “สัจธรรมที่พระพุทธเจ้าทรงค้นพบเมื่อตรัสรู้” ?
- เป็นความจริงที่พระองค์ทรงค้นพบด้วยพระองค์เอง ไม่มีอยู่ในธรรมชาติ เป็นความจริงที่มีอยู่แล้วตามธรรมชาติ พระพุทธเจ้าเป็นเพียงผู้ค้นพบ เป็นความจริงที่พระองค์ทรงค้นพบโดยบังเอิญ เป็นความจริงที่พระองคืทรงค้นพบจากการทรมานพระองค์เอง
- 9. อิทธิพลของพระพุทธศาสนา ก่อให้เกิดความเป็นเอกลักษณ์ของคนไทยในด้านใด ?
- ยิ้มแย้มแจ่มใส ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ยิ้มแย้มแจ่มใส มีน้ำใจไมตรี รักความเป็นอิสระ มีน้ำใจไมตรี รักความเป็นอิสระ ยิ้มแย้มแจ่มใส
- 10. การประท้วงและเผาตัวเองของพระภิกษุ สามเณร และแม่ชี ในประเทศเวียดนาม มีสาเหตุมาจากเหตุการณ์ใด ?
- การตกอยู่ภายใต้การปกครองของรัฐบาลคอมมิวนิสต์ การตกเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส การเกิดสงคราม การเมืองเข้ามาเกี่ยวข้องกับศาสนา
- 11. หลักการสอนของพระพุทธเจ้า เป็นตัวอย่างที่ดีในการที่ครูจะนำไปประยุกต์ใช้ ลักษณะการสอนที่เด่นที่สุดคือข้อใด ?
- การคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล การยกตัวอย่างประกอบ เป็นลำดับขั้นตอน การสอนจากเนื้อหาที่ง่ายไปหายาก การใช้เทคนิคการสอนอย่างหลากหลาย
- 12. สาเหตุใดที่พระพุทธศาสนาในประเทศลาวเสื่อมลง ในช่วง พ.ศ. 2436 ?
- เพราะตกอยู่ภายใต้การปกครองของรัฐบาลคอมมิวนิสต์ เพราะตกอยู่ภายใต้การปกครองของรัฐบาลเผด็จการทหาร เพราะตกเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส เพราะการเกิดสงคราม
- 13. การสร้างความสัมพันธไมตรีกับประเทศเพื่อนบ้าน ควรใช้หลักธรรมอะไรบ้าง ?
- ทศพิธราชธรรม พรหมวิหาร สัปปุริสธรรม พรหมวิหาร ทศพิธราชธรรม สังคหวัตถุ สาราณียธรรม สังคหวัตถุ
- 14. “การชนะมาร” ถือว่าเป็นชัยชนะอันยิ่งใหญ่ทั้งนี้เพราะเหตุใด ?
- เพราะมารมีอิทธิฤทธิ์มาก การเอาชนะจึงเป็นเรื่องยาก เพราะมารมีการปฏิบัติการทั้งล่อลวง และจองจำ เพราะมารมีการยั่วยุ ให้ลุ่มหลงมัวเมา เพราะสามารถเอาชนะกิเลสที่เกิดขึ้นในใจของตนเอง
- 15. “การสอนบุคคลโดยยกตัวอย่างประกอบให้ชัดเจน ถึงจะเข้าใจ” พระพุทธองค์ทรงเปรียบเหมือนดอกบัวในลักษณะใด ?
- ดอกบัวพ้นน้ำ ดอกบัวเสมอน้ำ ดอกบัวใต้น้ำ ดอกบัวใต้โคลนตม
- 16. การไม่ดูถูกเหยียดหยามประเทศเพื่อนบ้านว่าด้อยกว่าหรือยากจน ถือว่าเราปฏิบัติตามหลักธรรมข้อใด ?
- ทาน ปิยวาจา อัตถจริยา สมานัตตตา
- 17. บุคคลในข้อใดกล่าวได้ถูกต้องที่สุด ?
- ใบเตยกล่าวว่า วรรณกรรมไทยทุกเรื่อง มีอิทธิพลมาจากพระพุทธศาสนา ใบตาลกล่าวว่า วัฒนธรรมไทย มีบ่อเกิดมาจากพระพุทธศาสนาเป็นส่วนใหญ่ ใบตองกล่าวว่า พระพุทธศาสนาฝ่ายมหายานได้นำภาษาบาลีเข้ามาในประเทศไทย ใบตาดกล่าวว่า วัฒนธรรมด้านภาษาและศิลปะเท่านั้นที่ได้รับอิทธิพลมาจากพระพุทธศาสนา
- 18. ข้อใดถือว่าเป็นมรดกที่สำคัญของพระพุทธศาสนาที่สำคัญต่อประเทศไทย
- พระสงฆ์ผู้สืบทอดพระพุทธศาสนา หลักธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้า พระพุทธรูป ศาสนสถาน และโบราณสถานต่าง ๆ
- 19. ก่อนที่พระพุทธเจ้าจะตรัสรู้พระองค์ได้ผจญมาร คำว่า “มาร” ในพระพุทธศาสนาหมายถึงอะไร ?
- พญามาร และเสนามาร สิ่งขัดขวางมิให้พระพุทธองค์บรรลุพระอรหันต์ ธิดามาร ทั้งพญามาร เสนามาร และธิดามาร
- การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้านและการนับถือพระพุทธศาสนาของประเทศเพื่อนบ้าน ในปัจจุบัน หลังจากพระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธปรินิพานที่เมืองกุสินาราแล้ว ได้มีการทำสังคายนาพระธรรมวินัย จัดไว้เป็นหมวดหมู่จนกระทั่งสมัย ของพระเจ้าอโศกมหาราชพระพุทธศาสนามีความเจริญรุ่งเรืองอย่างยิ่งและได้มีการทำสังคายนาพระธรรมวินัยเป็นครั้งที่ 3 ในสมัยของพระองค์หลังจากทำสังคายนาแล้ว พระเจ้าอโศกมหาราชได้ทรงจัดส่งสมณทูต จำนวน 9 สาย เดินทางไปเผยแผ่พระพุทธศาสนายังประเทศต่างๆทำให้พระพุทธศาสนาขยายไปทั่วและเจริญรุ่งเรืองเท่าทุกวันนี้สำหรับดินแดนสุวรรณภูมิ(เอเชียตะวันออกเฉียงใต้)คณะสมณทูตที่เดินทางมาเผยแพร่พระพุทธศาสนาได้แก่ พระโสณเถระและพระอุตตรเถระ ซึ่งสันนิษฐานว่าคงจะเผยแผ่เข้ามาตั้งแต่ก่อน พ.ศ. 500 เพราะปรากฏหลักฐานอยู่ในดินแดนแถบนี้ ได้แก่ เจดีย์ สถูป พระพุทธรูป ธรรมจักรศิลา เป็นต้น 1. พระพุทธศาสนาในประเทศสหภาพพม่า หรือเมียนมาร์(MYANMAR)
พระพุทธศาสนาที่เผยแผ่เข้าสู่ประเทศสหภาพพม่าในระยะแรกคือพระพุทธศาสนาสัทธิเถรวาทหรือนิกายหินยานได้เข้าไปประดิษฐานที่เมืองสุธรรมบุรีหรือเมืองสะเทินซึ่งเป็นเมืองหลวงของมอญซึ่งอยู่ทางตอนใต้ของประเทศส่วนพม่าตอนเหนือมีเมืองพุกามเป็นเมืองหลวง พระพุทธศาสนาลัทธิอาจริยวาทหรือนิกายมหายานได้เผยแผ่มาจากแคว้นเบงกอลและโอริสาของอินเดียในสมัยของพระเจ้าอนุรุทธมหาราช (พระเจ้าอโนรธามังช่อ)ทรงครองราชย์ที่เมืองพุกาม(พ.ศ. 1587) พระองค์เป็นกษัตริย์ที่ทรงปรีชาสามารถมากทรงรวบรวมดินแดนของพม่าให้เป็นแผ่นดินเดียวกัน ได้สำเร็จและเมื่อพระองค์ทรงตีเมืองสะเทินได้จึงทรงโปรดให้อาราธนาพระภิกษุสงฆ์และไตรปิฎกจากเมืองสะเทิมไว้ที่เมืองพุกาม พร้อมกันนี้ประชาชนส่วนใหญ่ได้นับถือพระพุทธศาสนานิกายหินยาน และพระองค์ทรงเสื่อมใสศรัทธาในลัทธิหินยานด้วย ทำให้พระพุทธศาสนาในพม่าตอนใต้เสื่อมลง นอกจากนี้พระเจ้าอโนรธามังช่อยังได้ทรงส่งสมณฑูตไปติดต่อกับลังกาและไตรปิฎกฉบับสมบูรณ์มาจากลังกาด้วยในรัชสมัยของพระเจ้าธรรมเจดีย์กษัตริย์มอญขึ้นครองราชย์พระองค์ได้ทรงมีพระราชดำริว่าพระพทุธศาสนาในเมืองมอญในขณะนั้นเสื่อมลงมากจึงโปรดให้มีการชำระพระพุทธศาสนาในบริสุทธิ์โดยทรงให้พระภิกษุทุกรูปในเมืองมอญลาสิกขาและเข้ารับการอุปสมบทใหม่จากพระอุปัชฌาย์และพระอันดับที่ล้วนได้รับอุปสมบทจากลังกาเป็นผู้ให้อุปสมบทแต่หลังจากนั้นพระพุทธศาสนาก็เลื่อมลงอีก สาเหตุเนื่องมาจากพม่ากับมอญทำสงครามแย่งชิงความเป็นใหญ่กันอยู่ตลอดเวลาจนกระทั่งถึงประมาณ พ.ศ. 2300 เมื่อพระเจ้าอลองพญา กษัตริย์พม่าได้ยกทัพไปทำลายกรุงหงสาวดีอย่างราบคาบ ชนชาติมอญก็สูญสิ้นอำนาจลงอย่างเด็ดขาดพระพุทธศาสนาในประเทศพม่าได้รับการทำนุบำรุงจนเจริญรุ่งเรืองขึ้นอีกครั้งหนึ่ง ในสมัยพระเจ้ามินดง( พ.ศ. 2395-2420) พระองค์ได้ทรงอุปถัมภ์การทำสังคายนาพระไตรปิฎกที่พม่าระหว่าง พ.ศ. 2411-2414 ณ เมืองมัณฑเลย์และโปรดเกล้าฯให้จารึกพระไตรปิฎกลงบนแผ่นหินอ่อนแล้วทำสถูปครอบไว้ ซึ่งยังปรากฎอยู่ที่เชิงเขาเมืองมัณฑะเลจนถึงทุกวันนี้ปี พ.ศ. 2429 พม่าตกเป็นเมืองขึ้นของอังกฤษ สถาบันพระมหากษัตริย์ถูกล้มลง จึงส่งผลให้พระพุทธศาสนาได้รับความกระทบกระเทือนตามไปด้วยแต่ถึงกระนั้น ประชาชนชาวพม่าก็ยังคงเลื่อมใสศรัทธาในพระพุทธศาสนาอย่างแนบแน่นตลอดมา จนเมื่อพม่าได้รับเอกราช เมื่อ พ.ศ. 2491 ฯพณฯ อุนุ ได้เป็นนายกรัฐมนตรี ได้มีการทำสังคายนาพระไตรปิฎกเมื่อ พ.ศ. 2493 และต่อมารัฐบาลได้ออกกฎหมายรับรองให้พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ ในปี พ.ศ. 2504
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)